ประวัติศาสตร์ประเทศเยอมัน
เยอรมันในยุคต้น หุบเขานีอันเดอร์ทาล (Neandertal) ตั้งอยู่ใกล้ๆ เมืองดุสเซลดอร์ฟ เริ่มเป็นที่รู้จักกว้างขวางเมื่อปีพ.ศ. 2399
เนื่องจากมีการค้นพบซากโบราณในบริเวณนี้
มนุษย์นีอันเดอร์ทาลมีชีวิตอยู่ในยุคก่อนประวัติศาสตร์
ต่อมาชาวเยอรมันซึ่งมีนิสัยชอบทำสงครามได้รุกรานดินแดนที่เป็นประเทศเยอรมนีในปัจจุบัน
ยุคสงครามโลก กษัตริย์วิลเฮลม์ที่ 2 กษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งอาณาจักรและหลังจากพ่ายแพ้ เยอรมนีก็เปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐ "สาธารณรัฐไวมาร์" แต่ต่อมาในปีพ.ศ. 2476 พรรคนาซีเรืองอำนาจ สาธารณรัฐไวมาร์จึงสิ้นสุด อดอล์ฟ ฮิตเลอร์(Adolf Hitler) ผู้นำพรรคนาซีดำรงตำแหน่งนายยกรัฐมนตรีโดยมีเป้าหมายที่จะทำให้เยอรมนีมีอำนาจ และสิ่งนี้เองนำไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2482 สงครามยุติเมื่อ ปีพ.ศ. 2488 ประเทศเยอรมันตกอยู่ในสภาพเสียหายอย่างหนัก
เยอรมนีถูกแบ่ง หลังสงครามโลกที่ 2 สิ้นสุดลง ในปีพ.ศ. 2504 กำแพงเบอร์ลินถูกแยกเป็นเยอรมนีตะวันออกและตะวันตก โดยเยอรมนีตะวันตก ประเทศนี้ก็ได้สร้างกำแพงเบอร์ลิน พร้อมกับปิดกั้นการคมนาคมภายในเยอรมนีโดยสิ้นเชิงด้วยลวดหนามและ "แนวมรณะ"ซึ่งมีระเบิดฝังอยู่
พ.ศ. 2532 ได้เกิดการปฏิวัติโดยสันติของพลเมืองในสาธารณรัฐประธิปไตยเยอรมนี ซึ่งมีผลทำให้กระบวนการรวมประเทศเริ่มต้นขึ้น ดังนั้นเยอรมนีตะวันออก จึงต้องเปิดกำแพงเบอร์ลิน และเปิดเขตแดนภายในเยอรมนี ในตอนเย็นวันที่ 9 พ.ย. 2532 ต่อมาเมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2533 ก็ได้มีการเลือกตั้งเป็นอิสระในครั้งแรกในเยอรมนีตะวันออก และคืนวันที่ 2 ต.ค. 2533 เวลาเที่ยงคืน สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีจึงสลายตัวไป และนับแต่วันที่ 3 ต.ค. 2533 เป็นต้นมาเยอรมนีก็กลายเป็นหนึ่งเดียวกัน จากการรวมประเทศ จากวันที่ 3 ต.ค. 2533 อันเป็นวัน "รวมประเทศเยอรมนี" ต่อมาจึงกลายเป็นวันชาติเยอรมนี
ยุคสงครามโลก กษัตริย์วิลเฮลม์ที่ 2 กษัตริย์องค์ที่ 3 แห่งอาณาจักรและหลังจากพ่ายแพ้ เยอรมนีก็เปลี่ยนเป็นสาธารณรัฐ "สาธารณรัฐไวมาร์" แต่ต่อมาในปีพ.ศ. 2476 พรรคนาซีเรืองอำนาจ สาธารณรัฐไวมาร์จึงสิ้นสุด อดอล์ฟ ฮิตเลอร์(Adolf Hitler) ผู้นำพรรคนาซีดำรงตำแหน่งนายยกรัฐมนตรีโดยมีเป้าหมายที่จะทำให้เยอรมนีมีอำนาจ และสิ่งนี้เองนำไปสู่สงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2482 สงครามยุติเมื่อ ปีพ.ศ. 2488 ประเทศเยอรมันตกอยู่ในสภาพเสียหายอย่างหนัก
เยอรมนีถูกแบ่ง หลังสงครามโลกที่ 2 สิ้นสุดลง ในปีพ.ศ. 2504 กำแพงเบอร์ลินถูกแยกเป็นเยอรมนีตะวันออกและตะวันตก โดยเยอรมนีตะวันตก ประเทศนี้ก็ได้สร้างกำแพงเบอร์ลิน พร้อมกับปิดกั้นการคมนาคมภายในเยอรมนีโดยสิ้นเชิงด้วยลวดหนามและ "แนวมรณะ"ซึ่งมีระเบิดฝังอยู่
พ.ศ. 2532 ได้เกิดการปฏิวัติโดยสันติของพลเมืองในสาธารณรัฐประธิปไตยเยอรมนี ซึ่งมีผลทำให้กระบวนการรวมประเทศเริ่มต้นขึ้น ดังนั้นเยอรมนีตะวันออก จึงต้องเปิดกำแพงเบอร์ลิน และเปิดเขตแดนภายในเยอรมนี ในตอนเย็นวันที่ 9 พ.ย. 2532 ต่อมาเมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2533 ก็ได้มีการเลือกตั้งเป็นอิสระในครั้งแรกในเยอรมนีตะวันออก และคืนวันที่ 2 ต.ค. 2533 เวลาเที่ยงคืน สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนีจึงสลายตัวไป และนับแต่วันที่ 3 ต.ค. 2533 เป็นต้นมาเยอรมนีก็กลายเป็นหนึ่งเดียวกัน จากการรวมประเทศ จากวันที่ 3 ต.ค. 2533 อันเป็นวัน "รวมประเทศเยอรมนี" ต่อมาจึงกลายเป็นวันชาติเยอรมนี
The Berlin Wall |
ประวัติประเทศเยอรมัน
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
หรือเรียกสั้นๆ ว่าเยอรมันหรือเยอรมนี ตั้งอยู่ใจกลางทวีปยุโรป
ล้อมรอบด้วยประเทศเพื่อนบ้านถึง 9 ประเทศ คือเดนมาร์กอยู่ทางเหนือเนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม
ลักเซมเบิร์กและฝรั่งเศสอยู่ทางตะวันตก สวิตเซอร์แลนด์และออสเตรียอยู่ทางใต้
สาธารณรัฐเชคและโปแลนด์อยู่ทางตะวันออก
นับเป็นประเทศยุโรปที่มีจำนวนเพื่อนบ้านมากที่สุด
นับตั้งแต่มีการรวมประเทศในปี ค.ศ. 1990 เยอรมันกลายเป็นประเทศสำคัญที่ไม่เพียงแต่เป็นตัวเชื่อมยุโรปตะวันตกและตะวันออกเข้าด้วยกัน
แต่ยังเชื่อมประเทศทางตอนเหนือ คือ กลุ่มสแกนดิเนเวียกับกลุ่มประเทศทางตอนใต้
ซึ่งอยู่ริมทะเลเมดิเตอร์เรเนียนอีกด้วย เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพยุโรป
เยอรมันจึงเป็นเหมือนสะพานเชื่อมระหว่างประเทศในยุโรปตอนกลางและยุโรปตะวันออก
ยิ่งกว่านั้นการที่มีที่ตั้งอยู่ใจกลางทวีปยุโรป
ยังทำให้เยอรมันเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการท่องเที่ยวแถบนี้
เยอรมันมีพื้นที่ประมาณ 357,000 ตารางกิโลเมตร
พรมแดนทางตอนเหนือของประเทศติดกับฝั่งทะเลเหนือ (North Sea) และทะเลบัลติค
ทางตอนใต้จรดเทือกเขาแอลป์ในบาวาเรียน
ระยะทางส่วนที่ยาวที่สุดจากเหนือจรดใต้ประมาณ 876 กิโลเมตร
จากตะวันตกไปตะวันออกประมาณ 640 กิโลเมตร
ภูมิประเทศของเยอรมันมีทิวทัศน์งดงามแตกต่างกันไปหลายรูปแบบ
ทั้งเทือกเขาสูงต่ำสลับกับที่ราบสูงและพื้นที่ลดหลั่นเป็นชั้น เนินเขาทะเลสาบตลอดจนที่ราบโล่งกว้างใหญ่
ทางตอนเหนือเป็นแนวชายฝั่งทะเลเต็มไปด้วยเกาะแก่ง ทะเลสาบ
ท้องทุ่งที่มีพุ่มไม้ปกคลุม เนินทราย และบริเวณปากแม่น้ำที่สวยงาม
ส่วนทางตอนใต้แถบที่ราบสูงชวาเบียน-บาวา เรียงเต็มไปด้วยเนินเขาและทะเลสาบขนาดใหญ่
มีบริเวณครอบคลุมถึงเทือกเขาแอลป์ในส่วนของเยอรมัน
ลักษณะภูมิอากาศและฤดูกาล
ลักษณะอากาศของเยอรมันเป็นแบบค่อนข้างไปทางหนาวเย็น
มี 4 ฤดู คือ
ฤดูร้อน (มิถุนายน – สิงหาคม)
อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 18
– 20 องศาเซลเซียส
แต่อาจจะสูงขึ้นถึง 30 องศา หรือสูงกว่า
ฤดูใบไม้ร่วง (กันยายน – พฤศจิกายน)
อากาศจะเย็นลงและมีฝน ใบไม้จะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองบ้าง สีแดงบ้างดูสวยงาม
ฤดูหนาว (ธันวาคม – กุมภาพันธ์)
อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 5 องศา
ถึง ลบ 5 องศาเซลเซียส
โดยจะมีหิมะตกบ้าง
ฤดูใบไม้ผลิ (มีนาคม – พฤษภาคม)
อากาศจะอุ่นขึ้น ดอกไม้เริ่มบานและต้นไม้จะแตกใบอ่อน นำความเขียวขจีกลับมาอีกครั้ง
เวลา
การแบ่งเวลาของเยอรมันเป็นแบบยุโรปตอนกลาง
ซึ่งเวลาจะช้ากว่าประเทศไทย 6 ชม.
ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงมีนาคม ส่วนในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนเมษายนถึงตุลาคม
เวลาจะช้ากว่าประเทศไทย 5 ชม.
ประชากร
เยอรมันมีประชากรประมาณ 82 ล้านคน
ซึ่งมากเป็นอันดับสองรองจากรัสเซีย ในจำนวนนี้ 7.3 ล้านคน เป็นชาวต่างชาติ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานอพยพมาจากตุรกี
ยุโรปตอนใต้และยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ โดยเริ่มเข้ามาตั้งแต่ช่วงหลัง ค.ศ.1960 ซึ่งนับมาถึงปัจจุบันก็เป็นรุ่นที่ 2 และ 3 แล้ว
เยอรมันเป็นสังคมเปิด
กล่าวคือ ยอมรับผู้คนซึ่งอพยพเข้ามาหาที่หลบภัยและผู้อพยพหนีสงคราม
การให้มีการเปิดเสรีสำหรับผู้ใช้แรงงาน การเป็นกลุ่มผู้นำ
ต่อสู้เพื่อเสรีภาพในการประกอบอาชีพและเลือกถิ่นที่อยู่ภายในสหภาพยุโรป
ศาสนา
ชาวเยอรมันกว่า 55 ล้านคนนับถือศาสนาคริสต์นิกายต่างๆ โดยมีนิกายโปแตสแตนท์ มีผู้นับถือประมาณ 27.6 ล้านคน นิกายโรมันคาทอลิก 27.5 ล้านคน เยอรมันไม่มีศาสนาประจำชาติ การมีแรงงานต่างชาติเข้ามาทำงาน ทำให้มีชุมชนที่นับถือศาสนาอื่นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาอิสลาม ซึ่งมีผู้นับถือศาสนาอิสลามในเยอรมันประมาณ 2.6 ล้านคน จาก 41 ชาติทั่วโลก นอกจากนั้นก็มีผู้นับถือศาสนายิว ฮินดู และพุทธ
ชาวเยอรมันกว่า 55 ล้านคนนับถือศาสนาคริสต์นิกายต่างๆ โดยมีนิกายโปแตสแตนท์ มีผู้นับถือประมาณ 27.6 ล้านคน นิกายโรมันคาทอลิก 27.5 ล้านคน เยอรมันไม่มีศาสนาประจำชาติ การมีแรงงานต่างชาติเข้ามาทำงาน ทำให้มีชุมชนที่นับถือศาสนาอื่นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาอิสลาม ซึ่งมีผู้นับถือศาสนาอิสลามในเยอรมันประมาณ 2.6 ล้านคน จาก 41 ชาติทั่วโลก นอกจากนั้นก็มีผู้นับถือศาสนายิว ฮินดู และพุทธ
ระบบการเมือง
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อระบบเผด็จการนาซีล่มสลาย มีการแบ่งเยอรมันออกเป็น 2 ประเทศในปี ค.ศ.1949 คือ เยอรมันตะวันตกและเยอรมันตะวันออก (ซึ่งประเทศทั้ง 2 ได้รวมเป็นเอกภาพเมื่อปี ค.ศ. 1990) ประกอบด้วยประธานาธิบดีสหพันธ์ (President) มีรัฐสภาซึ่งแบ่งเป็น สภาสูง (Bundestag) และสภาล่าง (Bundesrat) หัวหน้ารัฐบาลคือนายกรัฐมนตรี (Chancellor) สิ่งที่น่าภาคภูมิใจในรัฐธรรมนูญเยอรมันก็คือ การระบุความสำคัญของสิทธิพื้นฐาน คนเยอรมันนับถือในเกียรติของความเป็นมนุษย์ ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเยอรมันไม่ว่าจะเป็นชนชาติใดก็ตามสามารถเรียกร้องสิทธิพื้นฐานตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ เช่น เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในทรัพย์สิน และเสรีภาพทางหนังสือพิมพ์ การเผยแพร่ข่าวของสื่อมวลชนแขนงต่างๆ จะทำได้โดยไม่มีการเซ็นเซอร์จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อระบบเผด็จการนาซีล่มสลาย มีการแบ่งเยอรมันออกเป็น 2 ประเทศในปี ค.ศ.1949 คือ เยอรมันตะวันตกและเยอรมันตะวันออก (ซึ่งประเทศทั้ง 2 ได้รวมเป็นเอกภาพเมื่อปี ค.ศ. 1990) ประกอบด้วยประธานาธิบดีสหพันธ์ (President) มีรัฐสภาซึ่งแบ่งเป็น สภาสูง (Bundestag) และสภาล่าง (Bundesrat) หัวหน้ารัฐบาลคือนายกรัฐมนตรี (Chancellor) สิ่งที่น่าภาคภูมิใจในรัฐธรรมนูญเยอรมันก็คือ การระบุความสำคัญของสิทธิพื้นฐาน คนเยอรมันนับถือในเกียรติของความเป็นมนุษย์ ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเยอรมันไม่ว่าจะเป็นชนชาติใดก็ตามสามารถเรียกร้องสิทธิพื้นฐานตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ เช่น เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในทรัพย์สิน และเสรีภาพทางหนังสือพิมพ์ การเผยแพร่ข่าวของสื่อมวลชนแขนงต่างๆ จะทำได้โดยไม่มีการเซ็นเซอร์จากเจ้าหน้าที่ของรัฐ
เยอรมันเป็นหนึ่งในประเทศที่ร่วมก่อตั้งสหภาพยุโรปและการออกเงินตราของสหภาพยุโรป
และเป็นสมาชิกขององค์กรนาโต้ (NATO) ในปี ค.ศ. 1990 เยอรมันตะวันออกซึ่งมีชื่อเป็นทางการว่า
สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมัน
และปกครองแบบสังคมนิยมได้รวมประเทศเข้ากับเยอรมันตะวันตกกลายเป็น
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันในปัจจุบัน
การ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ประกอบด้วย 16 รัฐ คือ บาเดน-เวือร์เทมแบร์ก บาวาเรีย เบอร์ลิน บรันเดนบวร์ก เบรเมน ฮัมบวร์ก เฮลเซน นีเดอร์ซัคเซน เมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น นอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลน ไรน์ลันฟัลส์ ซาร์ลันด์ ซัคเซน ซัคเซน-อันฮัลท์ ชเลสวิก-โฮลชไตน์ และเธือริงเงน แต่ละรัฐมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเอง โดยสภาผู้แทนแห่งรัฐมาจากการได้รับเลือกตั้งของสมาชิกพรรคต่างๆ ในรัฐนั้นๆ และสามารถออกกฎหมายใช้เองภายในรัฐได้ เช่น ระบบการศึกษารวมถึงระดับอุดมศึกษาอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของแต่ละรัฐ
การ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ประกอบด้วย 16 รัฐ คือ บาเดน-เวือร์เทมแบร์ก บาวาเรีย เบอร์ลิน บรันเดนบวร์ก เบรเมน ฮัมบวร์ก เฮลเซน นีเดอร์ซัคเซน เมคเคลนบวร์ก-ฟอร์พอมเมิร์น นอร์ดไรน์-เวสท์ฟาเลน ไรน์ลันฟัลส์ ซาร์ลันด์ ซัคเซน ซัคเซน-อันฮัลท์ ชเลสวิก-โฮลชไตน์ และเธือริงเงน แต่ละรัฐมีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเอง โดยสภาผู้แทนแห่งรัฐมาจากการได้รับเลือกตั้งของสมาชิกพรรคต่างๆ ในรัฐนั้นๆ และสามารถออกกฎหมายใช้เองภายในรัฐได้ เช่น ระบบการศึกษารวมถึงระดับอุดมศึกษาอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของแต่ละรัฐ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น